ป้ายกำกับ
- กฏแห่งกรรม (140)
- ชาดก (162)
- พทุธประวัติ (20)
- พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์ (145)
- พระอริยสงฆ์ (4)
- ร่มไทร (11)
- วันสำคัญทางศาสนา (8)
- อานิสงส์ผลบุญ (40)
ผู้ติดตาม
ทุกข์ดับที่ไหน
08:11 |
เขียนโดย
Gang of 4wd |
แก้ไขบทความ
ปัญหา ทุกข์ย่อมเกิดจากตาเห็นรูปเป็นต้นแล้วเกิด จักขุ วิญญาณ และผัสสะ เวทนา ตัณหา โดยลำดับ ถ้าจะดับทุกข์จะดับที่ไหน ?
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ความดับแห่งทุกข์เป็นไฉน เพราะอาศัยจักขุเป็นวิญญาณ.... เพราะอาศัยหูและเสียง จึงเกิดโสตวิญญาณ....
เพราะอาศัยจมูกและกลิ่น จึงเกิดฆานวิญญาณ.... .... เพราะอาศัยลิ้นและรส จึงเกิดชิวหาวิญญาณ........ เพราะอาศัยกาย และโผฏฐัพพะ จึงเกิดกายวิญญาณ........ เพราะอาศัยใจและธรรมจึงเกิดมโนวิญญาณ.... จึงเกิดมโนวิญญาณ ความประชุมแห่งธรรม ๓ ประการ (คือจักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) เป็นผัสสะ เพราะพาผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดตัณหา เพราะตัณหานั้นเทียวดับ เพราะสำรอกโดยเหลือ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราภพดับชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัส อุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการฉะนี้.... ภิกษุทั้งหลาย นี้แล เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์....
ทุขนิโรธสูตร นิ. สํ. (๑๖๓)
ตบ. ๑๖ : ๘๗ ตท. ๑๖ : ๗๙-_Q
ตอ. K.S. II : ๕๐
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ความดับแห่งทุกข์เป็นไฉน เพราะอาศัยจักขุเป็นวิญญาณ.... เพราะอาศัยหูและเสียง จึงเกิดโสตวิญญาณ....
เพราะอาศัยจมูกและกลิ่น จึงเกิดฆานวิญญาณ.... .... เพราะอาศัยลิ้นและรส จึงเกิดชิวหาวิญญาณ........ เพราะอาศัยกาย และโผฏฐัพพะ จึงเกิดกายวิญญาณ........ เพราะอาศัยใจและธรรมจึงเกิดมโนวิญญาณ.... จึงเกิดมโนวิญญาณ ความประชุมแห่งธรรม ๓ ประการ (คือจักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) เป็นผัสสะ เพราะพาผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงเกิดตัณหา เพราะตัณหานั้นเทียวดับ เพราะสำรอกโดยเหลือ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราภพดับชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัส อุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการฉะนี้.... ภิกษุทั้งหลาย นี้แล เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์....
ทุขนิโรธสูตร นิ. สํ. (๑๖๓)
ตบ. ๑๖ : ๘๗ ตท. ๑๖ : ๗๙-_Q
ตอ. K.S. II : ๕๐
ป้ายกำกับ:
พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น