ป้ายกำกับ
- กฏแห่งกรรม (140)
- ชาดก (162)
- พทุธประวัติ (20)
- พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์ (145)
- พระอริยสงฆ์ (4)
- ร่มไทร (11)
- วันสำคัญทางศาสนา (8)
- อานิสงส์ผลบุญ (40)
ผู้ติดตาม
เรื่อง ผู้ใหญ่.....ก็ดื้อ
18:14 |
เขียนโดย
Gang of 4wd |
แก้ไขบทความ
:: ภาคกฎแห่งกรรม :: เรื่อง ผู้ใหญ่.....ก็ดื้อ
โดย ปราณี จันทรัตน์
เมื่อปี ๒๕๓๕ ดิฉันมีโอกาสได้อ่านหนังสือธรรมะของพระเดชพระคุณพระราชสุทธิญาณมงคล (ตั้งแต่ยังเป็นพระครูภาวนาวิสุทธิคุณ) หรือหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม แห่งวัด อัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ซึ่งบรรดาลูกศิษย์ทั้งใกล้ไกลนิยมเรียกนามเดิมของท่าน ดิฉันอ่านหนังสือ “กฎแห่งกรรม – ธรรมปฏิบัติ” ของหลวงพ่อ รู้สึกประทับใจตั้งแต่อ่านครั้งแรก เพราะหลวงพ่อมีวิธีสอนและเขียนได้อย่างดีเลิศ ดิฉันพยายามหยิบยืมเพื่อน ๆ มาอ่าน เล่มหนึ่ง ๆ จะอ่านหลายครั้งชนิดอ่านแล้วอ่านอีกก็ยังประทับใจ ทั้งภาคกฎแห่งกรรม และ ธรรมปฏิบัติ ได้เข้าใจวิธีปฏิบัติและดำเนินชีวิตตามวิถีทางของชาวพุทธดียิ่งขึ้น เนื่องจากดิฉันบังเกิดความศรัทธาในการปฏิบัติตามแนวการสอนของหลวงพ่อมากจึงได้ตั้งปณิธานเอาไว้ว่า สักวันหนึ่งจะชวนสามีและลูก ๆ ไปนมัสการหลวงพ่อให้ถึงวัดอัมพวันให้จงได้ และตั้งใจไว้ว่าจะขอเข้าฝึกกรรมฐานที่วัดนี้ด้วย ปี ๒๕๓๖ เพื่อนอาจารย์ท่านหนึ่งนำหนังสือสวดมนต์เล่มน้อยมาฝาก มีบทสวด พาหุง มหากาฯ ที่ต้องการด้วยดิฉันปลื้มใจมาก นำหนังสือเล่มนั้นมาไว้หัวนอน และสวดก่อนนอนบ่อย ๆ ตามแต่โอกาส มีความรู้สึกสบายใจทุกครั้งที่ได้สวด
ปี ๒๕๓๗ เริ่มเกลี้ยกล่อมให้ลูกชายบวช เขาบอกว่ายังไม่พร้อมบ้าง ตรงกับสอบบ้าง แต่รับปากว่าปีหน้าจะบวช
ปี ๒๕๓๘ ปีนี้ครอบครัวของดิฉันทำบุญบ่อยมาก เพราะเคยมีครู – อาจารย์ทักทายไว้ว่าอายุย่าง ๕๗ ปี ชะตาไม่สู้จะดี จะเจ็บไข้ได้ป่วย เสียเงินเสียทอง ก็เชื่อเพราะเรื่องที่ดูมาครั้งก่อนก็ตรงและถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ นอกจากจะทำบุญตามปกติแล้ว มีที่จำได้แม่นยำคือ
• ไถ่ชีวิต โค กระบือ จากโรงฆ่าสัตว์ จ.อยุธยา ร่วมกับครอบครัวเพื่อนร่วมว่าน จำนวน ๕ ตัว แต่ทุกตัวมีท้องหมดคงจะรวมเป็น ๑๐ ตัวทั้งลูกในท้อง
• ไปทอดผ้าป่าสร้างฉัตรพระประธานให้วัดที่บ้านเกิดในจังหวัดสงขลา
• บวชลูกชายที่วัดอัมพวัน (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๘)
• ทำบุญถวายอาหารเพลพระที่วัดอัมพวัน และถวายสังฆทานในคราวเดียวกัน ฯลฯ
โดย ปราณี จันทรัตน์
เมื่อปี ๒๕๓๕ ดิฉันมีโอกาสได้อ่านหนังสือธรรมะของพระเดชพระคุณพระราชสุทธิญาณมงคล (ตั้งแต่ยังเป็นพระครูภาวนาวิสุทธิคุณ) หรือหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม แห่งวัด อัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ซึ่งบรรดาลูกศิษย์ทั้งใกล้ไกลนิยมเรียกนามเดิมของท่าน ดิฉันอ่านหนังสือ “กฎแห่งกรรม – ธรรมปฏิบัติ” ของหลวงพ่อ รู้สึกประทับใจตั้งแต่อ่านครั้งแรก เพราะหลวงพ่อมีวิธีสอนและเขียนได้อย่างดีเลิศ ดิฉันพยายามหยิบยืมเพื่อน ๆ มาอ่าน เล่มหนึ่ง ๆ จะอ่านหลายครั้งชนิดอ่านแล้วอ่านอีกก็ยังประทับใจ ทั้งภาคกฎแห่งกรรม และ ธรรมปฏิบัติ ได้เข้าใจวิธีปฏิบัติและดำเนินชีวิตตามวิถีทางของชาวพุทธดียิ่งขึ้น เนื่องจากดิฉันบังเกิดความศรัทธาในการปฏิบัติตามแนวการสอนของหลวงพ่อมากจึงได้ตั้งปณิธานเอาไว้ว่า สักวันหนึ่งจะชวนสามีและลูก ๆ ไปนมัสการหลวงพ่อให้ถึงวัดอัมพวันให้จงได้ และตั้งใจไว้ว่าจะขอเข้าฝึกกรรมฐานที่วัดนี้ด้วย ปี ๒๕๓๖ เพื่อนอาจารย์ท่านหนึ่งนำหนังสือสวดมนต์เล่มน้อยมาฝาก มีบทสวด พาหุง มหากาฯ ที่ต้องการด้วยดิฉันปลื้มใจมาก นำหนังสือเล่มนั้นมาไว้หัวนอน และสวดก่อนนอนบ่อย ๆ ตามแต่โอกาส มีความรู้สึกสบายใจทุกครั้งที่ได้สวด
ปี ๒๕๓๗ เริ่มเกลี้ยกล่อมให้ลูกชายบวช เขาบอกว่ายังไม่พร้อมบ้าง ตรงกับสอบบ้าง แต่รับปากว่าปีหน้าจะบวช
ปี ๒๕๓๘ ปีนี้ครอบครัวของดิฉันทำบุญบ่อยมาก เพราะเคยมีครู – อาจารย์ทักทายไว้ว่าอายุย่าง ๕๗ ปี ชะตาไม่สู้จะดี จะเจ็บไข้ได้ป่วย เสียเงินเสียทอง ก็เชื่อเพราะเรื่องที่ดูมาครั้งก่อนก็ตรงและถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ นอกจากจะทำบุญตามปกติแล้ว มีที่จำได้แม่นยำคือ
• ไถ่ชีวิต โค กระบือ จากโรงฆ่าสัตว์ จ.อยุธยา ร่วมกับครอบครัวเพื่อนร่วมว่าน จำนวน ๕ ตัว แต่ทุกตัวมีท้องหมดคงจะรวมเป็น ๑๐ ตัวทั้งลูกในท้อง
• ไปทอดผ้าป่าสร้างฉัตรพระประธานให้วัดที่บ้านเกิดในจังหวัดสงขลา
• บวชลูกชายที่วัดอัมพวัน (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๘)
• ทำบุญถวายอาหารเพลพระที่วัดอัมพวัน และถวายสังฆทานในคราวเดียวกัน ฯลฯ
ป้ายกำกับ:
กฏแห่งกรรม
|
0
ความคิดเห็น
จิต มโน วิญญาณ
18:06 |
เขียนโดย
Gang of 4wd |
แก้ไขบทความ
ปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีทรรศนะเกี่ยวกับกายและจิตอย่างไรบ้าง ?
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จะพึงเบื่อหน่าย คล้ายยินดีหรือหลุดพ้นในร่างกายอันประกอบด้วยมหาภูตทั้ง ๔ นี้ (ย่อมเป็นไปได้) นั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญ ความเสื่อม การเกิด หรือการตาย ของร่างกายอันประกอบด้วยมหาภูต ๔ นี้ ย่อมปรากฏ (ฉะนั้น) ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จึงเบื่อหน่าย คลายความยินดีหรือหลุดพ้นในร่างกายนั้นได้
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติใดที่เรียกกันว่าจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จะพึงเบื่อหน่าย คล้ายยินดีหรือหลุดพ้นในร่างกายอันประกอบด้วยมหาภูตทั้ง ๔ นี้ (ย่อมเป็นไปได้) นั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญ ความเสื่อม การเกิด หรือการตาย ของร่างกายอันประกอบด้วยมหาภูต ๔ นี้ ย่อมปรากฏ (ฉะนั้น) ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จึงเบื่อหน่าย คลายความยินดีหรือหลุดพ้นในร่างกายนั้นได้
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติใดที่เรียกกันว่าจิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
ป้ายกำกับ:
พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์
|
0
ความคิดเห็น
เรื่อง รอดตาย
17:54 |
เขียนโดย
Gang of 4wd |
แก้ไขบทความ
:: ภาคกฎแห่งกรรม :: เรื่อง รอดตาย
โดย พรทิพย์ ชูศักดิ์
โดย พรทิพย์ ชูศักดิ์
ข้าพเจ้า ไปวัดอัมพวันครั้งแรกกลางเดือนตุลาคม ๒๕๒๕ อาจารย์สมบูรณ์ และอาจารย์บังอร ดรุณศิลป ขอให้ช่วยพานักศึกษาจำนวน ๘ คนไปปฏิบัติธรรมร่วมกับนักศึกษาสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ข้าพเจ้าประทับใจในความเมตตาของหลวงพ่อพระราชสุทธิญาณมงคล เริ่มตั้งแต่ข้าพเจ้าไม่ทราบมาก่อนว่าต้องสวมชุดสีขาว และไม่ได้เตรียมมา แต่ในครั้งนั้นหลวงพ่อได้อนุญาตให้สวมชุดสี ๆ ได้ โดยบอกว่าความบริสุทธิ์อยู่ที่ใจ ไม่ได้อยู่ที่เสื้อผ้าภายนอก ข้าพเจ้าจึงได้อยู่ปฏิบัติธรรมที่วัดด้วยความสบายใจ หลวงพ่อได้ให้กรรมฐานสอนเดินจงกรม นั่งสมาธิ และคุณยายสุ่ม ทองยิ่ง กับ คุณป้ายุพิน บำเรอจิต ได้ควบคุมดูแลระหว่างการฝึกปฏิบัติ หลวงพ่อได้ให้ประสบการณ์ต่าง ๆ แก่พวกเรา เช่นสอนเรื่องความกตัญญูต่อบิดามารดา การครองตน ครองครอบครัว การทำงาน การศึกษา กฎแห่งกรรม ฯลฯ โดยท่านอธิบายอย่างมีเหตุผลพร้อมทั้งยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริงของท่านมา ประกอบ ทำให้พวกเราซาบซึ้งและมีศรัทธาน้อมรับคำสอนนั้นมาปฏิบัติ ช่วยให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตอย่างมาก นอกจากนี้ท่านได้กล่าวบางอย่างแก่ข้าพเจ้า ก่อนที่จะเดินทางกลับ ซึ่งสิ่งนั้นเป็นความจริงในเวลา ๖ ปีต่อมา |
ป้ายกำกับ:
กฏแห่งกรรม
|
0
ความคิดเห็น
อะไรเกิดขึ้นเมื่ออวิชชาดับ
17:49 |
เขียนโดย
Gang of 4wd |
แก้ไขบทความ
ปัญหา เมื่ออวิชชาซึ่งเป็นต้นเค้าของทุกข์ดับไปแล้ว อะไรจะเกิดขึ้น ?
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแลภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ในกาลนั้นภิกษุนั้นก็ไม่ทำกรรมเป็นบุญ ไม่ทำกรรมเป็นบาป ไม่ทำกรรมเป็นอเนญชา... เมื่อไม่ทำ เมื่อไม่จงใจ ก็ไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ถือมั่น ก็ไม่สะดุ้งกลัว เมื่อไม่สะดุ้งกลัว ก็ปรินิพพานเฉพาะตนย่อมทราบชัดว่า
พุทธดำรัสตอบ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแลภิกษุละอวิชชาได้แล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว ในกาลนั้นภิกษุนั้นก็ไม่ทำกรรมเป็นบุญ ไม่ทำกรรมเป็นบาป ไม่ทำกรรมเป็นอเนญชา... เมื่อไม่ทำ เมื่อไม่จงใจ ก็ไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ถือมั่น ก็ไม่สะดุ้งกลัว เมื่อไม่สะดุ้งกลัว ก็ปรินิพพานเฉพาะตนย่อมทราบชัดว่า
ป้ายกำกับ:
พระพุทธศาสนาจากพระโอษฐ์
|
0
ความคิดเห็น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)